หลักสูตรพระไตรปิฎกชั้นกลาง (๒ ปีครึ่ง)

 

ติดตามชมถ่ายทอดสด

โครงการศึกษาพระไตรปิฎก หลักสูตรพระไตรปิฎกชั้นกลาง (๒ ปีครึ่ง) ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๔  วิชา มหาวรรค สัททสังเขป รูปสิทธิ อภิธาน วุตโตทัย อลังการะ สอนโดย พระราชวัชรบัณฑิต (ประนอม ธมฺมาลงฺกาโร) เรียนออนไลน์  หรือเรียนที่สถาบันพระบาฬีโพธิยาลัย วัดจากแดง อ.พระประแดง จ.สมุทรปราการ เมื่อสถานการณ์การระบาดโควิด-19 คลี่คลายลง /ไม่มีค่าใช้จ่ายใด ๆ สมัครเรียนฟรี มีวุฒิบัตร รู้ชัดพระไตรปิฎก ติดต่อสอบถามได้ที่ : คลิกโทร ๐๙๘-๕๕๑-๖๒๘๓,  LINE ID: tipitakasikkhalai หรือทางอีเมล์: [email protected] เริ่มเรียนตั้งแต่ ๑๔ มิ.ย. ๒๕๖๔

นักศึกษาพระไตรปิฎกชั้นต้น และชั้นกลาง เรียนจันทร์-ศุกร์ หยุดวันพุธ เสาร์ อาทิตย์ และวันพระใหญ่

ดาวน์โหลด หนังสือประกอบการศึกษาพระไตรปิฎกชั้นกลาง

 




ค้นคว้าตำราเรียนย้อนหลัง อรรถกถาธรรมบท 17 ตอน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2363

ดาวน์โหลดจาก Google Drive

*วีดีโอบันทึกการเรียนการสอน วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ

วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๑ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๒ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๓ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๔ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๕ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๖ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๗ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๘ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๙ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๑๐ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๑๑ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๑๒ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๑๓ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๑๔ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๑๕ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๑๖ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๑๗ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๑๘ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๑๙ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๒๐ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๒๑ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๒๒ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๒๓ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๒๔ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๒๕ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๒๖ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๒๗ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๒๘ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๒๙ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๓๐ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๓๑ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๓๒ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๓๓ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๓๔ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๓๕ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๓๖ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๓๗ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๓๘ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๓๙ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๔๐ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๔๑ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๔๒ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๔๓ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๔๔ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๔๕ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๔๖ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๔๗ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๔๘ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๔๙ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๕๐ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๕๑ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๕๒ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๕๓ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๕๔ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๕๕ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๕๖ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๕๗ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๕๘ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๕๙ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๖๐ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๖๑ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๖๒ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๖๓ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๖๔ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๖๕ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๖๖ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๖๗ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๖๘ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๖๙ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๗๐ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๗๑ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๗๒ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๗๓ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๗๔ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๗๕ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๗๖ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๗๗ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๗๘ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๗๙ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๘๐ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๘๑ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๘๒ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๘๓ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๘๔ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๘๕ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๘๖ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๘๗ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๘๘ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๘๙ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๙๐ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๙๑ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๙๒ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๙๓ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๙๔ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๙๕ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๙๖ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๙๗ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๙๘ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๙๙ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๑๐๐ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๑๐๑ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๑๐๒ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๑๐๓ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๑๐๔ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๑๐๕ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๑๐๖ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๑๐๗ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๑๐๘ วิชาสัททสังเขป สัพพนามคณะ ครั้งที่ ๑๐๙

 

 

 

***โปรดติดตามตอนต่อไป***

รวมลิงก์ ติดตามไลฟ์สด เพจและZOOM+ดูย้อนหลังทางYouTube

*วีดีโอบันทึกการเรียนการสอน วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ เล่มที่ ๑

YouTube Playlist

 

วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๑ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๒ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๓ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่  ๔ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๕ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๖ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๗ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๘ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๙ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่  ๑๐ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๑๑ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๑๒ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๑๓ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๑๔ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๑๕ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๑๖ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๑๗ (รอ) วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๑๘ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๑๙ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๒๐ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๒๑ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๒๒ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๒๓ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๒๔ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๒๕ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๒๖ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๒๗ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๒๘ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๒๙ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๓๐ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๓๑ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๓๒ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๓๓ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๓๔ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๓๕ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๓๖ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๓๗ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๓๘ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๓๙ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๔๐ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๔๑ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๔๒ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๔๓ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๔๔ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๔๕ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๔๖ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๔๗ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๔๘ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๔๙ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๕๐ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๕๑ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๕๒ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๕๓ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๕๔ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๕๕ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๕๖ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๕๗ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๕๘ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๕๙ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๖๐ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๖๑ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๖๓ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๖๔ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๖๕ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๖๖ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๖๗ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๖๘ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๖๙ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๗๐ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๗๑ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๗๒ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๗๓ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๗๔ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๗๕ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๗๖ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๗๗ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๗๘ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๗๙ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๘๐ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๘๑ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๘๒ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๘๓ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๘๔ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๘๕ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๘๖ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๘๗ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๘๘ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๘๙ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๙๐ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๙๑ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๙๒ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๙๓ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๙๔ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๙๕ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๙๖ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๙๗ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๙๘ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๙๙ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๑๐๐ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๑๐๑ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๑๐๒ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๑๐๓ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๑๐๔ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๑๐๕ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๑๐๖ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๑๐๗ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๑๐๘ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๑๐๙ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๑๑๐ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๑๑๑ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๑๑๒ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๑๑๓ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๑๑๔ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๑๑๕ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๑๑๖ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๑๑๗ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๑๑๘ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๑๑๙ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๑๒๐ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๑๒๑ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๑๒๒ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๑๒๓ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๑๒๔ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๑๒๕ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๑๒๖ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๑๒๗ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ(องค์ธรรม) ครั้งที่ ๑๒๘ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ(องค์ธรรม) ครั้งที่ ๑๒๙ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ(องค์ธรรม) ครั้งที่ ๑๓๐ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ (องค์ธรรม)ครั้งที่ ๑๓๑ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ (องค์ธรรม) ครั้งที่ ๑๓๒ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ (องค์ธรรม) ครั้งที่ ๑๓๓ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ (องค์ธรรม) ครั้งที่ ๑๓๔ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ (องค์ธรรม) ครั้งที่ ๑๓๕ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ (องค์ธรรม) ครั้งที่ ๑๓๖ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ (องค์ธรรม) ครั้งที่ ๑๓๗ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ (องค์ธรรม) ครั้งที่ ๑๓๘ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ (องค์ธรรม) ครั้งที่ ๑๓๙ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ (องค์ธรรม) ครั้งที่ ๑๔๐ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ (องค์ธรรม) ครั้งที่ ๑๔๑ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ (องค์ธรรม) ครั้งที่ ๑๔๒ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ (องค์ธรรม) ครั้งที่ ๑๔๓ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ (องค์ธรรม) ครั้งที่ ๑๔๔ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ (องค์ธรรม) ครั้งที่ ๑๔๕ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ (องค์ธรรม) ครั้งที่ ๑๔๖ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ (องค์ธรรม) ครั้งที่ ๑๔๗

 

*วีดีโอบันทึกการเรียนการสอน วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ เล่มที่ ๒

 

วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๑ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๒ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๓ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๔ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๕ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๖ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๗ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๘ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๙ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๑๐ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๑๑ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๑๒ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๑๓ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๑๔ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๑๕ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๑๖ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๑๗ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๑๘ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๑๙ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๒๐ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๒๑ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๒๒ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๒๓ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๒๔ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๒๕ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๒๖ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๒๗ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๒๘ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๒๙ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๓๐ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๓๑ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๓๒ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๓๓ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๓๔ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๓๕ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๓๖ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๓๗ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๓๘ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๓๙ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๔๐ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๔๑ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๔๒ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๔๓ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๔๔ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๔๕ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๔๖ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๔๗ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๔๘ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๔๙ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๕๐ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๕๑ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๕๒ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๕๓ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๕๔ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๕๕ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๕๖ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๕๗ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๕๘ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๕๙ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๖๐ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๖๑ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๖๒ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๖๓ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๖๔ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๖๕ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๖๖ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๖๗ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๖๘ วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ครั้งที่ ๖๙

* วีดีโอบันทึกการเรียนการสอน วิชาพระวินัยปิฎก มหาวรรค หลักการสัมพันธ์

 

วิชาหลักการสัมพันธ์ พระวินัยปิฎก มหาวรรค ครั้งที่ ๑ วิชาหลักการสัมพันธ์ พระวินัยปิฎก มหาวรรค ครั้งที่ ๒  วิชาหลักการสัมพันธ์ พระวินัยปิฎก มหาวรรค ครั้งที่ ๓  วิชาหลักการสัมพันธ์ พระวินัยปิฎก มหาวรรค ครั้งที่ ๔  วิชาหลักการสัมพันธ์ พระวินัยปิฎก มหาวรรค ครั้งที่ ๕  วิชาหลักการสัมพันธ์ พระวินัยปิฎก มหาวรรค ครั้งที่ ๖  วิชาหลักการสัมพันธ์ พระวินัยปิฎก มหาวรรค ครั้งที่ ๗  วิชาหลักการสัมพันธ์ พระวินัยปิฎก มหาวรรค ครั้งที่ ๘  วิชาหลักการสัมพันธ์ พระวินัยปิฎก มหาวรรค ครั้งที่ ๙  วิชาหลักการสัมพันธ์ พระวินัยปิฎก มหาวรรค ครั้งที่ ๑๐  วิชาหลักการสัมพันธ์ พระวินัยปิฎก มหาวรรค ครั้งที่ ๑๑  วิชาหลักการสัมพันธ์ พระวินัยปิฎก มหาวรรค ครั้งที่ ๑๒  วิชาหลักการสัมพันธ์ พระวินัยปิฎก มหาวรรค ครั้งที่ ๑๓  วิชาหลักการสัมพันธ์ พระวินัยปิฎก มหาวรรค ครั้งที่ ๑๔  วิชาหลักการสัมพันธ์ พระวินัยปิฎก มหาวรรค ครั้งที่ ๑๕  วิชาหลักการสัมพันธ์ พระวินัยปิฎก มหาวรรค ครั้งที่๑๖  วิชาหลักการสัมพันธ์ พระวินัยปิฎก มหาวรรค ครั้งที่ ๑๗  วิชาหลักการสัมพันธ์ พระวินัยปิฎก มหาวรรค ครั้งที่ ๑๘  วิชาหลักการสัมพันธ์ พระวินัยปิฎก มหาวรรค ครั้งที่ ๑๙  วิชาหลักการสัมพันธ์ พระวินัยปิฎก มหาวรรค ครั้งที่ ๒๐  วิชาหลักการสัมพันธ์ พระวินัยปิฎก มหาวรรค ครั้งที่ ๒๑  วิชาหลักการสัมพันธ์ พระวินัยปิฎก มหาวรรค ครั้งที่ ๒๒  วิชาหลักการสัมพันธ์ พระวินัยปิฎก มหาวรรค ครั้งที่ ๒๓  วิชาหลักการสัมพันธ์ พระวินัยปิฎก มหาวรรค ครั้งที่ ๒๔  วิชาหลักการสัมพันธ์ พระวินัยปิฎก มหาวรรค ครั้งที่ ๒๕  วิชาหลักการสัมพันธ์ พระวินัยปิฎก มหาวรรค ครั้งที่ ๒๖  วิชาหลักการสัมพันธ์ พระวินัยปิฎก มหาวรรค ครั้งที่ ๒๗  วิชาหลักการสัมพันธ์ พระวินัยปิฎก มหาวรรค ครั้งที่ ๒๘  วิชาหลักการสัมพันธ์ พระวินัยปิฎก มหาวรรค ครั้งที่ ๒๙  วิชาหลักการสัมพันธ์ พระวินัยปิฎก มหาวรรค ครั้งที่ ๓๐  วิชาหลักการสัมพันธ์ พระวินัยปิฎก มหาวรรค ครั้งที่ ๓๑  วิชาหลักการสัมพันธ์ พระวินัยปิฎก มหาวรรค ครั้งที่ ๓๒  วิชาหลักการสัมพันธ์ พระวินัยปิฎก มหาวรรค ครั้งที่ ๓๓  วิชาหลักการสัมพันธ์ พระวินัยปิฎก มหาวรรค ครั้งที่ ๓๔  วิชาหลักการสัมพันธ์ พระวินัยปิฎก มหาวรรค ครั้งที่ ๓๕  วิชาหลักการสัมพันธ์ พระวินัยปิฎก มหาวรรค ครั้งที่ ๓๖  วิชาหลักการสัมพันธ์ พระวินัยปิฎก มหาวรรค ครั้งที่ ๓๗  วิชาหลักการสัมพันธ์ พระวินัยปิฎก มหาวรรค ครั้งที่ ๓๘  วิชาหลักการสัมพันธ์ พระวินัยปิฎก มหาวรรค ครั้งที่ ๓๙  วิชาหลักการสัมพันธ์ พระวินัยปิฎก มหาวรรค ครั้งที่ ๔๐  วิชาหลักการสัมพันธ์ พระวินัยปิฎก มหาวรรค ครั้งที่ ๔๑  วิชาหลักการสัมพันธ์ พระวินัยปิฎก มหาวรรค ครั้งที่ ๔๒  วิชาหลักการสัมพันธ์ พระวินัยปิฎก มหาวรรค ครั้งที่ ๔๓  วิชาหลักการสัมพันธ์ พระวินัยปิฎก มหาวรรค ครั้งที่ ๔๔  วิชาหลักการสัมพันธ์ พระวินัยปิฎก มหาวรรค ครั้งที่ ๔๕  วิชาหลักการสัมพันธ์ พระวินัยปิฎก มหาวรรค ครั้งที่ ๔๖  วิชาหลักการสัมพันธ์ พระวินัยปิฎก มหาวรรค ครั้งที่ ๔๗ 

* วีดีโอบันทึกการเรียนการสอนวิชา ตัทธิตกัณฑ์

* วีดีโอบันทึกการเรียนการสอน วิชาสมาสกัณฑ์

*ปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ (๑๐ มิ.ย. ๒๕๖๔)


” size=”large” border_radius=”3px” target=”blank” rel=”” icon_left=”fab fa-youtube-square” icon_right=””]วีดีโอการปฐมนิเทศ คลิก[/symple_button]

ตารางวันหยุดเรียน (เทอม 1/2564)

๑. ชื่อโครงการ

  • โครงการศึกษาพระไตรปิฎก หลักสูตรพระไตรปิฎกชั้นกลาง (๒ ปีครึ่ง)

๒. หลักการและเหตุผล

พระไตรปิฎก คือ คัมภีร์ที่รวบรวมคำสั่งสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ประกอบด้วยพระวินัยปิฎก ที่ประมวลพระพุทธบัญญัติเกี่ยวกับระเบียบปฏิบัติ ขนบธรรมเนียมประเพณี วิถีชีวิตและวิธีดำเนินกิจการต่าง ๆ ของภิกษุสงฆ์และภิกษุณีสงฆ์ พระสุตตันตปิฎก ที่ประมวลพระพุทธพจน์ที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงพระธรรมเทศนาและธรรมบรรยายต่าง ๆ ที่ตรัสยักเยื้องให้เหมาะกับบุคคล เหตุการณ์ และโอกาส และพระอภิธรรมปิฎก ที่ประมวลคำสอนที่เป็นเนื้อหาหรือหลักวิชาล้วน ๆ ไม่เกี่ยวด้วยบุคคลหรือเหตุการณ์

พระไตรปิฎกนี้จัดเป็นปริยัติสัทธรรม ซึ่งเป็นฐานรากไปสู่ปฏิบัติสัทธรรมและปฏิเวธสัทธรรมต่อไป เมื่อปริยัติอันตรธานไป ปฏิบัติก็ย่อมอันตรธานไป เมื่อปริยัติคงอยู่ ปฏิบัติก็คงอยู่ ฉะนั้น ปริยัติสัทธรรมจึงชื่อว่าเป็นอายุพระพุทธศาสนา ซึ่งการรักษาสืบทอดพระพุทธศาสนาเป็นหน้าที่โดยตรงของสถาบันสงฆ์ที่จะต้องผลิตพระภิกษุสามเณรที่มีคุณภาพ พร้อมทั้งส่งเสริมพระภิกษุสามเณรที่มีอยู่ในปัจจุบันให้พรั่งพร้อมด้วยความรู้ความสามารถประสบผลสำเร็จในการศึกษาปริยัติสัทธรรม

แต่ในปัจจุบัน การศึกษาปริยัติสัทธรรมของคณะสงฆ์ไทย ได้ปรับเปลี่ยนจากสมัยก่อนเป็นอันมาก กล่าวคือมิได้นำพระไตรปิฎกบาฬี พร้อมอรรถกถา และฎีกา เป็นต้น มาเป็นหลักในการเรียนการสอน เพราะขาดแคลนบุคลากรผู้แตกฉานด้านคัมภีร์สัททาวิเสส (หลักบาฬีไวยากรณ์ชั้นสูง) และผู้เชี่ยวชาญในพระไตรปิฎก และการศึกษาก็อาศัยพระไตรปิฎกภาษาไทยเพียงอย่างเดียว จึงทำให้เกิดปัญหาการตีความพระธรรมวินัยคลาดเคลื่อน ผิดเพี้ยนไป ส่งผลเสียต่อสังคมชาวพุทธเป็นวงกว้าง

ด้วยเหตุนี้ สถาบันพระบาฬีโพธิยาลัยวัดจากแดง นำโดย พระราชวัชรบัณฑิต (ประนอม ธมฺมาลงฺกาโร) ได้เห็นความสำคัญดังกล่าว จึงได้ริเริ่มจัด โครงการศึกษาพระไตรปิฎก หลักสูตรธัมมาจริยะ (๒ ปี) ขึ้น เพื่อจัดการเรียนการสอนนัยยะในพระไตรปิฎกควบคู่ไปกับการเชื่อมโยงองค์ความรู้จากคัมภีร์ชั้นอรรถกถาและฎีกา และเปิดโอกาสให้พระภิกษุสามเณรผู้สนใจได้ศึกษาเล่าเรียน โดยมุ่งหวังว่าจะสามารถผลิตบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถในพระไตรปิฎก  และรักษาสืบทอดพระพุทธศาสนาของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าให้คงอยู่สืบไป

๓. วัตถุประสงค์

  • ๑. เพื่อให้ผู้ศึกษามีความรู้ความเข้าใจในไวยากรณ์บาลี มีทักษะในการใช้ภาษาบาลี อันเป็นประโยชน์ในการศึกษาพระไตรปิฎกได้
  • ๒. เพื่อให้ผู้ศึกษามีความรู้ความเข้าใจ เห็นคุณค่าและประโยชน์ของพระไตรปิฎก สามารถนำความรู้ไปประพฤติปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง

๔. สถานที่ดำเนินงาน

  • สถาบันโพธิยาลัยวัดจากแดง ๑๖ หมู่ ๖ ถนนเพชรหึงษ์ ซอยเพชรหึงษ์ ๑๐ ตำบลทรงคนอง อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ ๑๐๑๓๐ โทรศัพท์: ๐๒-๔๖๔-๑๑๒๒

๕. รายละเอียดหลักสูตร

๕.๑. หลักสูตร

         หลักสูตรพระไตรปิฎกชั้นกลาง ประกอบด้วย ๖ รายวิชา คือ

  • พระวินัยปิฎก (มหาวรรค มหาขันธกะ)
  • สัททสังเขป (ตั้งแต่สัพพนามคณะ)
  • ปทรูปสิทธิ
  • อภิธานัปปทีปิกา
  • วุตโตทัย
  • สุโพธาลังการะ

 

         ก. พระวินัยปิฏก (มหาวรรค มหาขันธกะ)

ศึกษาพระวินัยปิฏก (มหาวรรค มหาขันธกะ) ๑. โพธิกถา ๒. อชปาลนิโครฺธกถา ๓. มุจลินฺทกถา ๔. ราชายตนกถา ๕. พฺรหฺมายาจนกถา ๖. ปญฺจวคฺคิยกถา ๗. ปพฺพชฺชากถา ๘. มารกถา ๙. ปพฺพชฺชูปสมฺปทากถา ฯเปฯ ๖๔. จตฺตาโร นิสฺสยา ๖๕. จตฺตาริ อกรณียานิ ๖๖. อาปตฺติยา อทสฺสเน อุกฺขิตฺตกวตฺถูนิ ตสฺสุทฺทานํ

         วัตถุประสงค์

๑. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจในพระวินัยปิฏก (มหาวรรค มหาขันธกะ) อย่างถูกต้อง สามารถสวดออกเสียงอักขระอย่างถูกต้อง รู้ความหมายและสาระสำคัญของเรื่องเหล่านั้น

๒. เพื่อให้สามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ และเผยแผ่ความรู้ เทศนา สั่งสอนแก่ผู้อื่นได้อย่างถูกต้องตามความสามารถ

 

          ข. สัททสังเขป (ตั้งแต่สัพพนามคณะ)

ศึกษาสัททสังเขป ไวยากรณ์บาลีย่อ ๖ กัณฑ์ คือ ๑) นามคณะย่อ สัพพนามคณะ ๒) อาขยาตคณะย่อ ว่าด้วยหมู่บทกิริยา ๘ คณะ ได้แก่ ภูวาทิคณะ รุธาทิคณะ ทิวาทิคณะ สวาทิคณะ กิยาทิคณะ คหาทิคณะ ตนาทิคณะ และจุราทิคณะ ๓) สนธิย่อ ว่าด้วยการเชื่อมบท ๕ ประเภท ได้แก่ สระสนธิ พยัญชนะสนธิ นิคคหิตสนธิ อาคมสนธิ และอาเทสสนธิ ๔) สมาสย่อ ว่าด้วยการย่อบท ๖ ประเภท ได้แก่ อัพพยีภาวสมาส กัมมธารยสมาส ทิคุสมาส ตัปปุริสสมาส พหุพพีหิสมาส และทวันทสมาส ๕) ตัทธิตย่อ ว่าด้วยปัจจัยที่เกื้อกูลแก่นามบท ๖ หมวด ได้แก่ อปัจจตัทธิต อเนกัตถตัทธิต อัสสัตถิตัทธิต สังขยาตัทธิต ภาวตัทธิต และอัพยยตัทธิต และ ๖) กิตก์ย่อ ว่าด้วยปัจจัยที่ขจัดความสงสัยใน ๗ สาธนะ ได้แก่
กััตตุสาธนะ กัมมสาธนะ กรณสาธนะ สัมปทานสาธนะ อปาทานสาธนะ อธิกรณสาธนะ และภาวสาธนะ

         วัตถุประสงค์

๑. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจในไวยากรณ์บาลีเบื้องต้น สามารถประกอบรูปศัพท์ แปล วิเคราะห์ และอธิบายเนื้อความของบทต่าง ๆ ในภาษาบาลีได้อย่างถูกต้องตามหลักเกณฑ์

๒. เพื่อให้เกิดทักษะในการใช้ภาษาบาลี สามารถเขียน-อ่าน-สวด-พูด และแปล และสามารถนำทักษะไปใช้ในการศึกษาบาฬีไวยากรณ์ชั้นสูงและพระไตรปิฎกได้

 

  • ปทรูปสิทธิ

ศึกษาปทรูปสิทธิ ไวยากรณ์ชั้นกลาง เน้นเรื่องการทำตัวรูปให้สำเร็จ มี ๗ กัณฑ์ คือ ๑) สนธิกัณฑ์ ว่าด้วยอักษร และการเชื่อมบท ๒) นามกัณฑ์ ว่าด้วยการทำตัวรูปนาม ๓) การกกัณฑ์ ว่าด้วยความสัมพันธ์ระหว่างบท การตั้งชื่อการกะ และการลงวิภัตติในอรรถต่าง ๆ ๔) สมาสกัณฑ์ ว่าด้วยการทำตัวรูปสมาสบท ๕) ตัทธิตกัณฑ์ ว่าด้วยการทำตัวรูปตัทธิตบท ๖) อาขยาตกัณฑ์ ว่าด้วยการทำตัวรูปอาขยาตบท ๗) กิพพิธานกัณฑ์ ว่าด้วยการทำตัวรูปกิตบท

วัตถุประสงค์

เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจในไวยากรณ์บาลีขั้นกลาง สามารถแยกธาตุ-ปัจจัย-วิภัตติ สามารถทำตัวรูปบท ตั้งวิเคราะห์ และทำปทวินิจฉัยในเบื้องต้นได้

 

 

  • อภิธานัปปทีปิกา

ศึกษาอภิธานัปปทีปิกา อันเป็นคัมภีร์นิฆัณฑุ (คัมภีร์ประมวลคำศัพท์บาลี)  มี ๓ กัณฑ์ คือ
๑) สัคคกัณฑ์ ว่าด้วยศัพท์ที่มีอรรถพระพุทธเจ้า พระนิพพาน พระอรหันต์ สวรรค์ เป็นต้น ๒) ภูกัณฑ์ ว่าด้วยศัพท์ที่เกี่ยวกับแผ่นดิน ถิ่นต่าง ๆ มนุษย์ เป็นต้น ๓) สามัญญกัณฑ์ ว่าด้วยบททั่ว ๆ ไป อันได้แก่ ศัพท์วิเสสนะ ศัพท์เบ็ดเตล็ด ศัพท์ที่มีอรรถมาก อุปสัค และนิบาต.

วัตถุประสงค์

เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจในคำศัพท์ ทั้งในด้านของการเข้าถึงความหมายของศัพท์ที่มีอรรถมาก การเลือกใช้คำศัพท์ที่เหมาะสม รวมถึงการศึกษาวจนัตถะ ธาตุ ปัจจัย ของศัพท์ต่าง ๆ ซึ่งจะเป็นการนำไวยากรณ์มาใช้จริงอีกด้วย

 

  • วุตโตทัย

ศึกษาวุตโตทัย อันเป็นคัมภีร์ฉันท์ มี ๖ ปริจเฉท คือ ๑) สัญญาปริภาสานิทเทส ว่าด้วยการกำหนดครุ ลหุ และคณะต่าง ๆ ๒) มัตตาวุตตินิทเทส ว่าด้วย คาถามาตราพฤติ ๓) สมวุตตินิทเทส ว่าด้วย คาถาวรรณพฤติอันมีการกำหนดครุลหุเหมือนกันทั้ง ๔ บาท ๔) อัทธสมวุตตินิทเทส ว่าด้วยคาถาวรรณพฤติอันมีการกำหนดครุลหุ ของบาทคู่เหมือนกัน และบาทคี่เหมือนกัน ๕) วิสมวุตตินิทเทส ว่าด้วยคาถาวรรณพฤติอันมีการกำหนดคณะไม่แน่นอน ๖) ฉัปปัจจยวิภาค ว่าด้วยการจำแนกนัย ๖ อย่าง ได้แก่ ปัตถารนัย (นัยการกระจายพยางค์) นัฏฐนัย (การหาครุลหุจากเลขแถวของปัตถารนัย) เป็นต้น

         วัตถุประสงค์

เพื่อทำปทวินิจฉัย ในคาถาต่าง ๆ ได้ โดยตรวจกับฉันทลักษณ์ตามลักษณะของคาถานั้น ๆ

 

  • สุโพธาลังการะ

ศึกษาสุโพธาลังการ อันเป็นคัมภีร์เกฏุภะ มี ๕ ปริจเฉท คือ ๑) โทสาวโพธะ ว่าด้วยโทษของบท วากยะ และอรรถของวากยะ ๒) โทสาปริหาราวโพธะ ว่าด้วยการเปลื้องโทษเหล่านั้น ๓) คุณาวโพธะ ว่าด้วยการตกแต่งเสียง ๔) อัตถาลังการาวโพธะ ว่าด้วยการตกแต่งความหมาย ๕) รสภาวาโพธะ ว่าด้วยรสและอาการทางใจที่ทำให้เกิดรส

         วัตถุประสงค์

  • เพื่อเลี่ยงโทษ รู้วิธีการแก้โทษ และตกแต่งเสียงและความหมายในการประพันธ์บาลี
  • เพื่อเข้าถึงความงามในอรรถ ในพยัญชนะ คุณ และรสในพระไตรปิฎก อรรถกถา

 

      ๕.๒   โครงสร้างหลักสูตร และปฏิทิน  

ส่งใบสมัคร ๑๙ เม.ย. – ๖ มิ.ย. ๒๕๖๔
รายงานตัว* ๕ – ๖ มิ.ย. ๒๕๖๔
สอบสัมภาษณ์* ๗ มิ.ย. ๒๕๖๔
ประกาศผลการคัดเลือก ๘ มิ.ย. ๒๕๖๔
แนวแนวการศึกษาพระอภิธรรม ๑๓, ๒๐, ๒๗ มิ.ย. ๒๕๖๔
ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ภาคการศึกษาที่ ๑ ๑๐ มิ.ย. – ๒๘ ต.ค. ๒๕๖๔
ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ภาคการศึกษาที่ ๒ ๑๘ พ.ย. ๒๕๖๔ – ๓๑ มี.ค. ๒๕๖๕
ปีการศึกษา ๒๕๖๕ ภาคการศึกษาที่ ๑ ๕ พ.ค. – ๒๐ ต.ค. ๒๕๖๕
ปีการศึกษา ๒๕๖๕ ภาคการศึกษาที่ ๒ ๑๗ พ.ย. ๒๕๖๕ – ๓๐ มี.ค. ๒๕๖๖
ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ภาคการศึกษาที่ ๑ ๖ พ.ค. – ๒๑ ต.ค. ๒๕๖๖

      * รายงานตัวและสอบสัมภาษณ์ สำหรับนักศึกษาปกติที่ต้องการพำนักในวัดจากแดงเท่านั้น

      วันเรียน: ทุกวันจันทร์ ถึง ศุกร์ หยุดวันอุโบสถ

ช่วงเช้า: เวลา ๙.๐๐ – ๑๐.๓๐ น.

ช่วงบ่าย: เวลา ๑๓.๐๐ – ๑๔.๓๐, ๑๕.๐๐ – ๑๖.๓๐ น.

ตารางเรียน ปี ๑ ภาค ๑ ปี ๑ ภาค ๒ ปี ๒ ภาค ๑ ปี ๒ ภาค ๒ ปี ๓ ภาค ๑
ช่วงเช้า สัททสังเขป (ต่อ) รูปสิทธิ รูปสิทธิ (ต่อ) รูปสิทธิ (ต่อ)

อภิธาน

วุตโตทัย

อลังการะ

ช่วงบ่าย มหาวรรค

 

             สำหรับนักศึกษาปกติที่ต้องการพำนักในวัดจากแดง แต่ยังไม่สำเร็จวิชาอภิธัมมัตถสังคหะ:

ต้องเรียนคัมภีร์อภิธัมมัตถสังคหะ ในวันอาทิตย์ ที่วัด ดังนี้:

 

ตาราง
เรียน
ปี ๑ ภาค ๑ ปี ๑ ภาค ๒ ปี ๒ ภาค ๑ ปี ๒ ภาค ๒ ปี ๓ ภาค ๑
ปริจเฉท ๑,๒,๖ (จูฬตรี) ปริจเฉท ๓,๗
(จูฬโท)
ธัมมสังคณีมาติกา
(จูฬเอก)
ปริเฉท ๔,๕
(มัชฌิมตรี)

 

      ๕.๓   บุคคลากร

             ๕.๓.๑  ประธานโครงการ และอาจารย์ผู้สอน

พระราชวัชรบัณฑิต (ประนอม ธมฺมาลงฺกาโร),

โสตุชนปันตี (บาฬีไวยากรณ์ชั้นสูง) สาสนธชธัมมาจริยะ

๕.๓.๒  คณะกรรมการดำเนินงาน

คณาจารย์ เจ้าหน้าที่ และอาสาสมัคร โครงการติปิฏกสิกขาลัย สถาบันโพธิยาลัย

      ๕.๔   คุณสมบัติของผู้สมัคร

พระภิกษุสามเณรหรือฆราวาส ต้องเป็นผู้มีความประพฤติเรียบร้อยดีงามตามพระธรรมวินัย สามารถปฏิบัติตามกฎกติกาของสถาบันได้ เป็นผู้มีความตั้งใจจริงและมีความขยันหมั่นเพียรศึกษาจนจบหลักสูตร เพื่อเป็นศาสนทายาทผู้สืบทอดพระพุทธศาสนาอย่างแท้จริง.

นอกจากนี้ ต้องเป็นผู้สามารถแจกปทมาลานาม และปทมาลาอาขยาตได้ดี  กรุณาดูเอกสารแสดงปทมาลาที่ควรทรงจำให้ได้ก่อนวันสอบสัมภาษณ์

ในปีการศึกษา ๒๕๖๔ นี้  รับสมัครนักศึกษา จำนวน ๒๕ รูป/คน (ไม่นับผู้ศึกษาผ่านสื่อทางไกล)

สำหรับพระภิกษุสามเณรหรือฆราวาสผู้มีคุณสมบัติไม่ครบตามกำหนด ให้สมัครเป็นนักศึกษาสมทบ สามารถเข้ารับฟังการบรรยายในชั้นเรียน หรือทางสื่อการศึกษาทางไกลก็ได้

๖. การวัดและประเมินผล

การวัดและประเมินผลการศึกษา ด้วยผลคะแนนจากงานมอบหมาย และการทดสอบกลางภาค และปลายภาคการศึกษาทั้ง ๒ ภาค และนักศึกษาต้องไม่ขาดเรียนนานในแต่ละภาคการศึกษา

สำหรับนักศึกษาที่มีผลการเรียนแต่ละวิชา ไม่ต่ำกว่า ๕๐ คะแนน และมีผลการเรียนทุกวิชา รวมกัน ตั้งแต่ ๖๕–๗๔ คะแนน จะได้รับประกาศนียบัตร และนักศึกษาที่มีผลการเรียน ทุกวิชารวมกัน ตั้งแต่ ๗๕ คะแนน ขึ้นไป จะได้รับใบประกาศนียบัตร คุณวิสิฏฐะ (เกียรตินิยม) จากทางสถาบันพระบาฬีโพธิยาลัย

สมัครเรียน

๒. หลักสูตรพระไตรปิฎกชั้นกลาง (๒ ปีครึ่ง)

เรียน: มหาวรรค สัททสังเขป รูปสิทธิ อภิธาน วุตโตทัย อลังการะ
ฐานความรู้ที่ควรมีก่อนเรียน: สามารถแจก ปทมาลานาม และ ปทมาลาอาขาต ได้

 

เกี่ยวกับการเรียนการสอน

  • สมัครเป็นนักศึกษาปกติ พำนักในวัดจากแดง (เฉพาะภิกษุสามเณร)
  • สมัครเป็นนักศึกษาสมทบ เดินทางไป-กลับ (ภิกษุสามเณร และบุคคลทั่วไป)
  • สมัครเป็นนักศึกษาสมทบ เรียนทางสื่อออนไลน์ (ภิกษุสามเณร และบุคคลทั่วไป)

เพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างผาสุกโดยธรรมและวินัย และเกื้อกูลต่อการศึกษาพระปริยัติธรรมและการปฏิบัติธรรมแห่งพระภิกษุสามเณรผู้พำนักอยู่ในวัด วัดจากแดงจึงตั้งกฎระเบียบไว้ ๑๐ ข้อ ดังต่อไปนี้

  • ๑. พระภิกษุสามเณรผู้ประสงค์จะพำนักอยู่ประจำในวัด ต้องมีใบฝาก หรือใบมอบตัวจากพระอุปัชฌาย์หรือ พระอาจารย์ หรือเจ้าอาวาสของตน และสำเนาหนังสือสุทธิ และ/หรือสำเนาบัตรประจำตัวประชาชนเท่านั้น
  • ๒. พระภิกษุสามเณรอาคันตุกะผู้ประสงค์เข้ามาพำนักอยู่ในวัด ต้องแสดงหนังสือสุทธิ และ/หรือบัตรประจำตัวประชาชน ลงทะเบียนรายชื่อต่อเจ้าอาวาสหรือพระภิกษุผู้เป็นเสนาสนคาหาปกะ และอนุญาตให้พักอยู่ได้ไม่เกิน ๗ วัน เว้นแต่มีเหตุจำเป็น
  • ๓. พระภิกษุสามเณรผู้พำนักอยู่ประจำในวัด ต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบต่าง ๆ ของวัด อย่างเคร่งครัด เช่น การฉันภัตตาหารเช้าและเพล เมื่อรับภัตตาหารแล้ว ต้องนั่งฉันและให้พรที่หอฉันเท่านั้น เว้นแต่มีเหตุจำเป็น เช่น อาพาธ เป็นต้น เพื่ออนุเคราะห์แก่เจ้าภาพและเพื่อความพร้อมเพรียงแห่งสงฆ์
  • ๔. ห้ามเสพสิ่งเสพติดทุกชนิดโดยเด็ดขาด หากรูปใดล่วงละเมิดย่อมมีโทษตามลำดับ คือ ครั้งที่ ๑ ตักเตือน ครั้งที่ ๒ ตักเตือนและลงทัณฑ์บน ครั้งที่ ๓ หากเลิกละไม่ได้ จะพิจารณาให้ย้ายออกจากวัด
  • ๕. เพื่อการรักษาวินัยให้บริสุทธิ์ พระภิกษุมีวัตถุที่เป็นนิสสัคคีย์ ให้สละของนั้นแก่สงฆ์ คณะ หรือบุคคล แล้วปลงอาบัติ หากเป็นเงินและทองให้นำไปสละไว้แก่ไวยาวัจกรหรือเจ้าหน้าที่การเงินของวัด เมื่อต้องการสิ่งของอันควรแก่สมณะบริโภค ให้แจ้งความประสงค์แก่ไวยาวัจกรหรือเจ้าหน้าที่การเงินของวัด
  • ๖. ควรมีความเอื้อเฟื้อต่อธรรมและวินัย เพื่อพัฒนาตนให้เป็นบุคลากรผู้สมบูรณ์ด้วยปริยัติและปฏิบัติ เป็นศาสนทายาทผู้สืบทอดพระพุทธศาสนา อย่างแท้จริง
  • ๗. ควรตั้งใจศึกษาพระปริยัติธรรมอย่างเคารพ ควรท่องแบบหรือสูตรให้ได้ก่อนเข้าเรียน ตั้งใจฟังครูอธิบายขณะเรียน หมั่นทบทวนบทเรียนอย่างสม่ำเสมอ และควรใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
  • ๘. ควรร่วมทำกิจวัตรประจำวัน เช่น ทำวัตรสวดมนต์ บิณฑบาต กวาดวัด เป็นต้น อย่างสม่ำเสมอ เว้นแต่มีเหตุจำเป็น
  • ๙. ควรฝึกตนให้มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ทั้งส่วนตนคือการศึกษาเล่าเรียนและการปฏิบัติสมณธรรม ทั้งส่วนรวมคือการรับอาสาช่วยงานสงฆ์ตามสมควร
  • ๑๐. เมื่อศึกษาจบหลักสูตรของทางวัดแล้ว ต้องปฏิบัติศาสนกิจ เช่น การสอน การเทศนาอบรม การทำสื่อการเรียนการสอนและเผยแผ่ หรือกิจต่าง ๆ ที่ทางวัดมอบหมาย ในวัดจากแดงหรือวัดสาขา เป็นเวลาอย่างน้อย ๑ ปี เว้นแต่มีเหตุจำเป็น

*พระภิกษุสามเณรผู้ปฏิบัติตามกฎระเบียบ ๑๐ ข้อ เหล่านี้ ย่อมกระทำความผาสุกให้เกิดแก่สงฆ์ และกระทำความเกื้อกูลต่อการศึกษาและปฏิบัติแก่ตนและหมู่คณะ ย่อมเป็นผู้สมควรพำนักอยู่ในวัดจากแดงนี้

ผู้ประสงค์เข้าศึกษาหลักสูตรพระไตรปิฎกชั้นกลาง ณ วัดจากแดง *พึงทรงจำเนื้อหาต่อไปนี้ ให้ได้ก่อนวันสอบสัมภาษณ์

*หมายเหตุ: เอกสารนี้ ใช้ตามรูปแบบคัมภีร์สัททสังเขป แต่นักศึกษาสามารถใช้ตามรูปแบบคัมภีร์ปทรูปสิทธิ หรือ คัมภีร์บาลีไวยากรณ์ใหญ่ อื่น ๆ ก็ได้

  1. ปุริส-สทฺทปทมาลา
  2. จิตฺต-สทฺทปทมาลา
  3. กญฺญา-สทฺทปทมาลา
  4. ตุมฺห-สทฺทปทมาลา
  5. อมฺห-สทฺทปทมาลา
  6. สพฺพ-สทฺทปทมาลา
  7. ต-สทฺทปทมาลา

 

ปุริส-สทฺทปทมาลา (บุรุษ, บุคคล)

เอกวจน พหุวจน
ปฐมา ปุริโส ปุริสา
อาลปน โภ ปุริส, ปุริสา ภวนฺโต ปุริสา
ทุติยา ปุริสํ ปุริเส
ตติยา ปุริเสน ปุริเสหิ, ปุริเสภิ
จตุตฺถี ปุริสสฺส ปุริสานํ
ปญฺจมี ปุริสา, ปุริสมฺหา, ปุริสสฺมา ปุริเสหิ, ปุริเสภิ
ฉฏฺฐี ปุริสสฺส ปุริสานํ
สตฺตมี ปุริเส, ปุริสมฺหิ, ปุริสสฺมึ ปุริเสสุ

 

จิตฺต-สทฺทปทมาลา (จิต)

เอกวจน พหุวจน
ปฐมา จิตฺตํ จิตฺตา, จิตฺตานิ
อาลปน โภ จิตฺต, จิตฺตา ภวนฺตานิ จิตฺตา, จิตฺตานิ
ทุติยา จิตฺตํ จิตฺเต, จิตฺตานิ
ตติยา จิตฺเตน จิตฺเตหิ, จิตฺเตภิ
จตุตฺถี จิตฺตสฺส จิตฺตานํ
ปญฺจมี จิตฺตา, จิตฺตมฺหา, จิตฺตสฺมา จิตฺเตหิ, จิตฺเตภิ
ฉฏฺฐี จิตฺตสฺส จิตฺตานํ
สตฺตมี จิตฺเต, จิตฺตมฺหิ, จิตฺตสฺมึ จิตฺเตสุ

 

 

กญฺญา-สทฺทปทมาลา (สาวน้อย)

เอกวจน พหุวจน
ปฐมา กญฺญา กญฺญา, กญฺญาโย
อาลปน โภติ กญฺเญ โภติโย กญฺญา, กญฺญาโย
ทุติยา กญฺญํ กญฺญา, กญฺญาโย
ตติยา กญฺญาย กญฺญาหิ, กญฺญาภิ
จตุตฺถี กญฺญาย กญฺญานํ
ปญฺจมี กญฺญาย กญฺญาหิ, กญฺญาภิ
ฉฏฺฐี กญฺญาย กญฺญานํ
สตฺตมี กญฺญาย, กญฺญายํ กญฺญาสุ

 

ตุมฺห-สทฺทปทมาลา

เอกวจน พหุวจน
ปฐมา ตฺวํ ตุวํ ตุมฺเห โว
ทุติยา ตวํ ตํ ตฺวํ ตุวํ ตุมฺหากํ ตุมฺเห โว
ตติยา ตยา ตฺวยา เต ตุมฺเหหิ ตุมฺเหภิ โว
จตุตฺถี ตุมฺหํ ตว เต ตุยฺหํ ตุมฺหากํ ตุมฺหํ โว
ปญฺจมี ตยา ตฺวยา ตุมฺเหหิ ตุมฺเหภิ
ฉฏฺฐี ตุมฺหํ ตว เต ตุยฺหํ ตุมฺหากํ ตุมฺหํ โว
สตฺตมี ตยิ ตฺวยิ ตุมฺเหสุ

 

อมฺห-สทฺทปทมาลา

เอกวจน พหุวจน
ปฐมา อหํ มยํ อมฺเห โน
ทุติยา มํ มมํ อมฺหากํ อมฺเห โน
ตติยา มยา เม อมฺเหหิ อมฺเหภิ โน
จตุตฺถี อมฺหํ มม มยฺหํ มมํ เม อมฺหํ อมฺหากํ อสฺมากํ โน
ปญฺจมี มยา อมฺเหหิ อมฺเหภิ
ฉฏฺฐี อมฺหํ มม มยฺหํ มมํ เม อมฺหํ อมฺหากํ อสฺมากํ โน
สตฺตมี มยิ อมฺเหสุ อสฺเมสุ

 

สพฺพ-สทฺทปทมาลา (ปุํ)

เอกวจน พหุวจน
ปฐมา สพฺโพ สพฺเพ
อาลปน โภ สพฺพ สพฺพา โภนฺโต สพฺเพ
ทุติยา สพฺพํ สพฺเพ
ตติยา สพฺเพน สพฺเพหิ สพฺเพภิ
จตุตฺถี สพฺพสฺส สพฺเพสํ สพฺเพสานํ
ปญฺจมี สพฺพสฺมา สพฺพมฺหา สพฺเพหิ สพฺเพภิ
ฉฏฺฐี สพฺพสฺส สพฺเพสํ สพฺเพสานํ
สตฺตมี สพฺพสฺมึ สพฺพมฺหิ สพฺเพสุ

 

 

สพฺพ-สทฺทปทมาลา (นปุํ)

เอกวจน พหุวจน
ปฐมา สพฺพํ สพฺพานิ
อาลปน โภ สพฺพ สพฺพา โภนฺโต สพฺพานิ
ทุติยา สพฺพํ สพฺพานิ

ตั้งแต่ ตติยาวิภัตติ เป็นต้นไป แจกเหมือนในปุงลิงค์

 

สพฺพ-สทฺทปทมาลา (อิตฺ)

เอกวจน พหุวจน
ปฐมา สพฺพา สพฺพา สพฺพาโย
อาลปน โภติ สพฺเพ โภติโย สพฺพา สพฺพาโย
ทุติยา สพฺพํ สพฺพา สพฺพาโย
ตติยา สพฺพาย สพฺพาหิ สพฺพาภิ
จตุตฺถี สพฺพาย สพฺพสฺสา สพฺพาสํ สพฺพาสานํ
ปญฺจมี สพฺพาย สพฺพาหิ สพฺพาภิ
ฉฏฺฐี สพฺพาย สพฺพสฺสา สพฺพาสํ สพฺพาสานํ
สตฺตมี สพฺพายํ สพฺพสฺสํ สพฺพาสุ

 

ต-สทฺทปทมาลา (ปุํ)

เอกวจน พหุวจน
ปฐมา โส เน เต
ทุติยา นํ ตํ เน เต
ตติยา เนน เตน เนหิ เนภิ เตหิ เตภิ
จตุตฺถี อสฺส นสฺส ตสฺส เนสํ เนสานํ เตสํ เตสานํ
ปญฺจมี อสฺมา นสฺมา ตสฺมา นมฺหา ตมฺหา เนหิ เนภิ เตหิ เตภิ
ฉฏฺฐี อสฺส นสฺส ตสฺส เนสํ เนสานํ เตสํ เตสานํ
สตฺตมี อสฺมึ นสฺมึ ตสฺมึ นมฺหิ ตมฺหิ เนสุ เตสุ

  

ต-สทฺทปทมาลา (นปุํ)

เอกวจน พหุวจน
ปฐมา นํ ตํ นานิ ตานิ
ทุติยา นํ ตํ นานิ ตานิ

ตั้งแต่ ตติยาวิภัตติ เป็นต้นไป แจกเหมือนในปุงลิงค์

 

ต-สทฺทปทมาลา (อิตฺ)

เอกวจน พหุวจน
ปฐมา สา นา ตา นาโย ตาโย
ทุติยา นํ ตํ นา ตา นาโย ตาโย
ตติยา นาย ตาย นาหิ นาภิ ตาหิ ตาภิ
จตุตฺถี ติสฺสาย ตสฺสาย อสฺสาย นสฺสาย

ติสฺสา ตสฺสา อสฺสา นสฺสา นาย ตาย

นาสํ นาสานํ ตาสํ ตาสานํ
ปญฺจมี นาย ตาย นาหิ นาภิ ตาหิ ตาภิ
ฉฏฺฐี ติสฺสาย ตสฺสาย อสฺสาย นสฺสาย

ติสฺสา ตสฺสา อสฺสา นสฺสา นาย ตาย

นาสํ นาสานํ ตาสํ ตาสานํ
สตฺตมี ติสฺสํ ตสฺสํ อสฺสํ นสฺสํ นายํ ตายํ นาสุ ตาสุ

 

๒. หนังสือประกอบการศึกษาพระไตรปิฎก ชั้นกลาง

ดาวน์โหลดทั้งหมดจาก Google Drive



ค้นคว้าตำราเรียนย้อนหลัง อรรถกถาธรรมบท 17 ตอน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2363

ดาวน์โหลดจาก Google Drive

 


โพสที่คล้ายกัน:

หลักสูตรพระไตรปิฎกชั้นกลาง หลักสูตรพระไตรปิฎกศึกษา